ศิลปิน อริญชย์ รุ่งแจ้ง
เกิดที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2518 พำนักและทำงานอยู่ที่กรุงเทพฯ
ความเชื่อเป็นเหมือนสายลม, 2566
อริญชย์ รุ่งแจ้ง สร้างสรรค์งานผ่านการผสานรวมประวัติศาสตร์ความทรงจำ ความเป็นวัตถสภาวะ และสิญลักษณ์ เข้าด้วยกัน อีกทังขยายขอบเขคการรับรู้ความเป็นจริงของมนุษย์ โดยการนำพา กระแลรองที่หามอนพาดผ่านกาลเวลา พื่นที่าษาอนหลากลาย บ่อยครั้งที่ผลงานของเขาได้นำเอาวัตถุทั้งหลายมาเป็นจุดตั้งต้นเรื่องราวส่วนตัว หรือเรื่องเล่าแบบเป็นทางการถูกเชื่อมประสานและเหตุการณ์ที่เหมือนห่างไกลก็กลับมาข้องสัมพันธ์กันได้ผ่านเวลาและพื้นที่ อริญชย์ทำงานผ่านสือที่มีความหลากหลาย ตังแต่งานวิดีโอไปจนถึงงานจัดวางเฉพาะพื้นที่
สำหรับงาน ไทยแลนด์ เบียนนาเล่ อริญชย์นำเสนอผลงานชื่อความเชื่อเป็นเหมือนสายลม งานจัดวางประติมากรรมเสียงทีสิบค้นลงไปสู่ความเข้าใจและการรับรู้ความเป็นจริง ประวัติศาสตร์และธรรมชาติที่เกียวโยงกับยุคสมัยแห่งวิกฤตินิเวศ อันเป็นผลจากการกระทำของมนุษย์ ผ่านการใช้โครงสร้างที่เอื่อให้เกิดการแสดงออกโดยธรรมชาติ ผลงานประกอบด้วยก้อนหินที่วางทับปลายเชือกสายสิญจน์ที่ห้อยแขวนระฆังลมไม้ไผ่จำนวนมากมายเมื่อผู้ชมเดินเข้าไปก็จะเกิดเสียงกระทบกันของไม้ไผ่ขับคลอ ด้วยเสียงร้องกล่อมลูกของหญิงชาวปกาเกอะญอจากชุมชน ห้วยหินลาดใน จังหวัดเชียงราย
สนับสนุนโดย ไกรศักดิ์ แก้วพิหูล
Arin Rungjang
Born in Bangkok, 1975. Lives and works in Bangkok.
Belief is Like the Wind, 2023
Arin Rungjang’s artistic practice intertwines history, memory, materiality, and symbols, and expands human perceptions of reality. Through his revisiting of the historical material, major and minor narratives are overlapped across multiple times, places, and languages. Many of his works take objects as a starting point in which personal and official narratives intersect and distant events are drawn together across time and space. His practice spans different media and often involves video and site-specific installation.
For Thailand Biennale Chiang Rai 2023, Rungjang presents Belief is Like the Wind ‘a sound installation that explores human understandings and perceptions of reality, history and nature in relation to the current epoch of ecological crisis resulting from human actions. By using a structure that propels nature’s expression, several stones are rested on top of numerous sacred threads which are linked to the top edge of the structure. At the end of the thread hangs a bamboo winding pipe. As the winds blow bamboo pipes against each other, a natural sound is created, harmonized with the sound of a lullaby sung by a Pgakenyaw woman of the Huay Hin Lad Nai indigenous community in Chiang Rai.
ข้อมูลเพิ่มเติม: htts://www.thailandbiennale.org
ท่านสามารถเข้าไปชมได้ที่ไร่เชิญตะวัน